Download presentation
Presentation is loading. Please wait.
1
Process Selection and Facility Layout
CHAPTER 6 Process Selection and Facility Layout (การเลือกกระบวนการผลิตและการวางผังโรงงาน)
2
Process selection (การเลือกกระบวนการผลิตและการวางผังโรงงาน)
3
Process Selection and System Design.
Forecasting Product and Service Design Technological Change Capacity Planning Process Selection Facilities and Equipment Layout Work Design ขั้นตอนการเลือกและการวางแผนกำลังการผลิต มีอิทธิพลต่อการออกแบบระบบการตัดสินใจในเรื่องของ Capacity Planning และ Process Selection Input ที่ต้องมีคือ Input (ข้อมูล) Forecasting ยอดขาย, ตัวเลขพยากรณ์ Product and Service Design เราจะผลิตสินค้าอะไรและทำจากวัสดุอะไร Technological Change การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี Output (ผลที่ได้) Facilities and Equipment ต้องซื้อเครื่องจักรลักษณะไหน Layout การวางผังของโรงงานว่าควรจะวางเครื่องจักรตรงไหน Work Design การวางตำแหน่งของคนว่าระบบการทำงานเป็นอย่างไร
4
Process Selection Variety
How much variety in products or service will the system need to handle ? Flexibility What degree of equipment flexibility will be needed ? Volume What is the expected volume of output ? Process Selection การเลือกกระบวนการ - Variety ปริมาณความหลากหลายของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ต้องมีในกระบวนการ - Flexibility ระดับความยืดหยุ่นในความต้องการ - Volume ความคาดหวังของปริมาณสินค้าหรือบริการ
5
Process Types Job shop Small scale Batch Moderate volume
Repetitive/assembly line High volumes of standardized goods or services Continuous Very high volumes of non-discrete goods Process Type ประเภทของกระบวนการ 1.Job Shop ร้านค้าทั่วไปขนาดค่อนข้างเล็ก มักมีปริมาณสินค้าหรือบริการน้อยแต่มีความหลากหลายสูง จะทำตามคำสั่งลูกค้าจึงมีความยืดหยุ่นสูง อุปกรณ์และเครื่องมือใช้เฉพาะงานและคนงานมีฝีมือในลักษณะงานนั้น ๆ ที่เฉพาะเจาะจง 2.Batch มีปริมาณของสินค้าหรือบริการปานกลาง ความหลากหลายอยู่ระดับปานกลางเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ มีความหลากหลายไม่แน่นอนและคนงานมีระดับความชำนาญไม่สูงมากนักแต่มีความสามารถหลายหลาก เช่น ไก่ทอด ร้านเบเกอรี่ ขนมเค้ก โรงภาพยนต์และอุตสาหกรรมผลิตสินค้าปริมาณระดับกลาง 3.Repetitive มีปริมาณของสินค้าหรือบริการสูงและมีมาตรฐาน ดังนั้นความยืดหยุ่นของสินค้าหรือบริการจึงน้อย เครื่องมือและอุปกรณ์มีจำนวนมาก ฝีมือแรงงานต่ำ มักผลิตสินค้าและบริการแบบซ้ำ ๆ เช่น ข้าวราดแกง, โรงงานประกอบรถยนต์ เป็น High volumes ชิ้นงานมีมาตรฐาน (มีการกำหนดขอบเขตคุณภาพเอาไว้) 4.Continuous มีปริมาณของสินค้าหรือบริการที่สูงมาก มีความต้องการอย่างต่อเนื่อง ไม่มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นจึงไม่สามารถผลิตจำนวนมาก ๆ ได้ ความชำนาญของคนงานขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์ เช่น ปตท. เป็น High volumes ไม่สามารถแยกผลิตได้
6
Product and Service Processes
Process Type Job Shop Appliance repair Emergency room Ineffective Batch Commercial baking Classroom Lecture Repetitive Automotive assembly Automatic carwash Continuous (flow) Steel Production Water purification Low Volume High Volume 1.Job Shop ร้านค้าขนาดเล็ก มีปริมาณสินค้าหรือบริการน้อย แต่มีความหลากหลายสูง จะทำตามคำสั่งลูกค้าจึงมีความยืดหยุ่นสูง อุปกรณ์และเครื่องมือใช้เฉพาะงานและคนงานมีฝีมือในลักษณะงานนั้น ๆ ที่เฉพาะเจาะจง 2.Batch ปริมาณสินค้าหรือบริการปานกลาง ความหลากหลายอยู่ระดับปานกลาง เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ มีความหลากหลายไม่แน่นอนและคนงานมีระดับความชำนาญไม่สูงมากนักแต่มีความสามารถหลายหลาก เช่น ไก่ทอด ร้านเบเกอรี่ ขนมเค้ก โรงภาพยนต์และอุตสาหกรรมผลิตสินค้าปริมาณระดับกลาง 3.Repetitive มีปริมาณของสินค้าหรือบริการสูงและมีมาตรฐาน ดังนั้นความยืดหยุ่นของสินค้าหรือบริการจึงน้อย เครื่องมือและอุปกรณ์มีจำนวนมาก ฝีมือแรงงานต่ำ มักผลิตสินค้าและบริการแบบซ้ำ ๆ เช่น ข้าวราดแกง, โรงงานประกอบรถยนต์ เป็น High volumes ชิ้นงานมีมาตรฐาน (มีการกำหนดขอบเขตคุณภาพเอาไว้) 4.Continuous มีปริมาณของสินค้าหรือบริการที่สูงมาก มีความต้องการอย่างต่อเนื่อง ไม่มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นจึงไม่สามารถผลิตจำนวนมาก ๆ ได้ ความชำนาญของคนงานขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์ เช่น ปตท. เป็น High volumes ไม่สามารถแยกผลิตได้
7
Product – Process Matrix
Dimension Job shop Batch Repetitive Continuous Job variety Very High Moderate Low Very low Process flexibility Unit cost Volume of output High Other issues; scheduling work-in-process inventory labor skill
8
Important factors for process design
Product profiling Sustainable goods and services Lean process design Automation Product and Service Profiling การเลือก Process เกี่ยวข้องกับการลงทุนในเรื่องอะไรบ้าง - การซื้อเครื่องจักร - การจัดวางผังโรงงาน ข้อมูลของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างสินค้าและบริการอะไรบ้าง เช่น - Rang ของ Product - ขนาดของการสั่ง, ต้องสั่งอย่างน้อยครั้งละเท่าไร - ขายสินค้าในราคาเท่าไร - มีการเปลี่ยนแปลงการผลิตบ่อยแค่ไหน (ดูที่พฤติกรรมของลูกค้า, ความผันผวนของตลาด) - ต้องการคุณภาพในขนาดไหน
9
Facility layout (การเลือกกระบวนการผลิตและการวางผังโรงงาน)
10
Objective of Layout Design
Facilitate attainment of product quality Use workers and space efficiently Avoid bottlenecks Minimize unnecessary material handling costs Eliminate unnecessary movement of workers or materials Minimize production time or customer service time Design for safety วัตถุประสงค์ของการออกแบบ Layout การส่งเสริมให้เกิดคุณภาพของสินค้า 2. การใช้แรงงานและพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การหลีกเลี่ยงคอขวด 4. ทำให้ต้นทุนในการเก็บรักษาวัตถุดิบน้อยที่สุด 5. กำจัดการเคลื่อนย้ายที่ไม่จำเป็น 6. การทำให้เวลาที่ใช้ในการผลิตน้อยที่สุด 7. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน
11
Facilities Layout Types of layout Fixed-Position layouts
Product layouts Process layouts Cellular layouts Service layouts Combination layouts ความหยืดหยุ่นของ Layout Layout คือ รูปแบบของการจัดแผนก, เครื่องจักร, work center โดยคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของงาน Product layouts Process layouts Fixed-Position layout Combination layouts
12
Fixed Position Layouts
Fixed Position Layout: Layout in which the product or project remains stationary, and workers, materials, and equipment are moved as needed. Nature of the product dictates this type of layout Weight Size Bulk Large construction projects Fixed Position Layouts เป็น Layout ที่สินค้าอยู่กับที่ส่วนมากเป็นประเภทน้ำหนักเยอะ ผังแบบผลิตภัณฑ์อยู่กับที่ (Fixed – Position Layout) เป็นการจัดวางให้ผลิตภัณฑ์วางอยู่กับที่ เนื่องจากผลิตภัณฑ์มีขนาดใหญ่มาก จึงใช้การเคลื่อนย้ายเครื่องจักร วัสดุ และแรงงานเข้ามาทำการผลิต ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การสร้างเครื่องบิน จรวด รถไป ตึกหรืออาคารต่างๆ เป็นต้น การเคลื่อนย้าย เครื่องจักร วัสดุรวมถึงเครื่องมือต่างๆ จะมีความสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าการเคลื่อนที่ ผลิตภัณฑ์มาหาเครื่องจักร เครื่องมือต่างๆ โดยเฉพาะการสร้างตึกหรืออาคารนั้น ไม่สามารถจะเคลื่อนย้าย มาหาเครื่องมือได้ จึงต้องมีการวางผังแบบผลิตภัณฑ์อยู่กับที่ Fixed-position layout: addresses the layout requirements of large, bulky projects
13
Fixed Position Layouts (cont.)
Typical of projects Equipment, workers, materials, other resources brought to the site Highly skilled labor Often low fixed costs Typically high variable costs
14
Facilities Layout Types of layout Fixed-Position layouts
Product layouts Process layouts Cellular layouts Service layouts Combination layouts ความหยืดหยุ่นของ Layout Layout คือ รูปแบบของการจัดแผนก, เครื่องจักร, work center โดยคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของงาน Product layouts Process layouts Fixed-Position layout Combination layouts
15
Product Layout Used for Repetitive or Continuous Processing
Raw materials or customer Station 1 Station 2 Station 3 Station 4 Finished item Material and/or labor Material and/or labor Material and/or labor Material and/or labor Product Layout เป็นการทำงานแบบซ้ำ ๆ และงานที่มีความต่อเนื่อง
16
Product Layout (cont.) Flow shop production (Product-oriented layout): seeks the best personnel and machine utilization in repetitive or continuous production. Flow shop production (Product-oriented layout): seeks the best personnel and machine utilization in repetitive or continuous production.
17
A U-Shaped Production Line
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 In Out Workers Product Layout จัดเป็นรูปตัว U ข้อดีคือ พนักงานมีความใกล้ชิดกัน ง่ายต่อการติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน ใช้พื้นที่น้อย Ease to cross-travel of workers and vehicles More compact More communication between workers
18
Advantages of Product Layout
High rate of output Low unit cost Labor specialization Low material handling cost High utilization of labor and equipment Established routing and scheduling Routine accounting, purchasing and inventory control ประโยชน์ของ Product Layout - Out put ออกมาเยอะ - ต้นทุนต่อหน่วยต่ำ - แรงงานทำหน้าที่เฉพาะอย่าง - ต้นทุนในการเก็บรักษาหรือเคลื่อนย้ายวัสดุน้อย - เป็นการใช้แรงงานและเครื่องจักรได้อย่างคุ้มค่า - วางแผนงานได้ง่าย - การสั่งซื้อวัตถุดิบ, การทำบัญชี, การทำสินค้าคงคลัง สะดวกทำได้ง่าย
19
Disadvantages of Product Layout
Creates dull, repetitive jobs Poorly skilled workers may not maintain equipment or quality of output Fairly inflexible to changes in volume Highly susceptible to shutdowns Needs preventive maintenance Individual incentive plans are impractical ข้อเสียของ Product Layout - งานน่าเบื่อเนื่องจากงานซ้ำ - ถ้ามีแรงงานใหม่เข้ามาจะกลายเป็นจุดอ่อนของทีม มีผลกระทบต่อคุณภาพสินค้า - การเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตไม่ค่อยยืดหยุ่นเท่าไร - ถ้ามีจุดใดจุดหนึ่งเสียใน Line การผลิตทำให้ทั้ง Line ต้องหยุด - ต้องการ Maintenance ที่เป็น preventive maintenance (การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน) - การให้ผลตอบแทนกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งไม่สามารถทำได้
20
Facilities Layout Types of layout Fixed-Position layouts
Product layouts Process layouts Cellular layouts Service layouts Combination layouts ความหยืดหยุ่นของ Layout Layout คือ รูปแบบของการจัดแผนก, เครื่องจักร, work center โดยคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของงาน Product layouts Process layouts Fixed-Position layout Combination layouts
21
Used for Intermittent processing Job Shop or Batch Processes
Process Layout Process Layout (functional) Dept. A Dept. B Dept. D Dept. C Dept. F Dept. E การจัด Layout ตามหน้าที่การทำงานเหมาะกับ Job Shop หรือ Batch Processes เพราะปริมาณไม่เยอะมาก ผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) เป็นการจัดวางเครื่องจักรตามลำดับความต้องการใช้ เครื่องจักร เพื่อใช้ในการผลิตหรือการให้บริการสินค้า หรือผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดสามารถใช้เครื่องจักร เฉพาะ หรือกล่าวได้ว่า การผลิตสินค้าแต่ละชนิดจะไม่ใช้เครื่องจักรในการผลิตร่วมกัน ซึ่งเหมาะสำหรับการผลิตประเภทต่อเนื่อง การวางผังตามผลิตภัณฑ์มัก พบมากในโรงงานประกอบชิ้นส่วนต่างๆ เช่น ในโรงงานประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์ โรงงานประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า เป็นต้น Used for Intermittent processing Job Shop or Batch Processes
22
Advantages of Process Layouts
Can handle a variety of processing requirements Not particularly vulnerable to equipment failures Equipment used is less costly Possible to use individual incentive plans ข้อดีของ Process Layouts - สามารถรับมือกับความหลากหลายของกระบวนการผลิตได้ - ไม่มีผลถ้าเครื่องจักรเครื่องใดเสียสามารถดำเนินงานต่อได้ - เป็นเครื่องจักรแบบทั่วๆ ไป ราคาไม่ค่อยสูง - สามารถให้ผลตอบแทนเป็นรายบุคคลได้
23
Disadvantages of Process Layouts
In-process inventory costs can be high Challenging routing and scheduling Equipment utilization rates are low Material handling slow and inefficient Complexities often reduce span of supervision Special attention for each product or customer Accounting and purchasing are more complicated ข้อเสียของ Process Layouts - In process inventory สูงทำให้ต้นทุนสูงตาม - วางแผนการผลิตยาก - อัตราการใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรค่อนข้างต่ำ - การขนย้ายวัสดุหรือชิ้นงานในการผลิตช้า ไม่มีประสิทธิภาพ - ความซับซ้อนของงานทำให้การตรวจตรายากขึ้น - มีการให้ความดูแลเอาใจใส่สินค้าของลูกค้าเฉพาะรายเป็นพิเศษทำให้สินค้ามีความไม่สม่ำเสมอ - การสั่งซื้อสินค้าหรืองานบัญชีมีความซับซ้อน
24
Process-oriented layout
Design places departments with large flows of material or people together Department areas having similar processes located in close proximity 1.ควรออกแบบบริเวณการทำงานให้เหมาะกับวัตถุดิบและบุคคลากร 2.บริเวณที่มีการผลิตสินค้าหรือบริการที่คล้าย ๆ กันควรจัดบริเวณการทำงานไว้ใกล้ ๆ กัน
25
Process-oriented layout (cont.)
Steps in Developing a Process-Oriented Layout 1. Construct a “from-to matrix” station station
26
Process-oriented layout (cont.)
Steps in Developing a Process-Oriented Layout 2.Determine space requirements for each department
27
Process-oriented layout (cont.)
Steps in Developing a Process-Oriented Layout 3. Develop an initial schematic diagram
28
Process-oriented layout (cont.)
Steps in Developing a Process-Oriented Layout Cost of Process-Oriented Layout Minimize cost = ∑∑ XijCij Where n = total number of work centers or departments i,j = individual departments Xij = number of loads moved from department i to department j Cij = cost to move a load between department i and department j n i=1 j=1
29
Process-oriented layout (cont.)
Steps in Developing a Process-Oriented Layout 4. Determine the cost of the layout Cost of moving 1 unit between adjacent departments is 1 dollar Cost of moving 1 unit between nonadjacent departments is 2 dollar
30
Process-oriented layout (cont.)
Possible Layout 2
31
Process-oriented layout (cont.)
Interdepartmental Flow Graph Showing Number of Weekly Loads
32
Facilities Layout Types of layout Fixed-Position layouts
Product layouts Process layouts Cellular layouts Service layouts Combination layouts ความหยืดหยุ่นของ Layout Layout คือ รูปแบบของการจัดแผนก, เครื่องจักร, work center โดยคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของงาน Product layouts Process layouts Fixed-Position layout Combination layouts
33
Cellular Layouts Cellular manufacturing systems (work cell layout): arranges machinery and equipment to focus on production of a single product or group of related products Benefits: Minimal work in process Reduced space requirements Reduced lead time Productivity and quality improvement Increased flexibility Cellular Layouts - Cellular Production เป็น Layout ที่เครื่องจักรนำมาจับกลุ่มเข้าไปใน cell ที่สามารถผลิตสินค้าที่มีความคล้ายคลึงกันได้ - Group Technology เป็นกลุ่มของ part families ที่มี design หรือกระบวนการผลิตที่ใกล้เคียงกัน Cellular manufacturing systems (work cell layout): arranges machinery and equipment to focus on production of a single product or group of related products
34
Cellular Layouts (cont.)
Work Cells
35
Cellular Layouts (cont.)
Work Cells
36
Advantages and Disadvantages of Cellular Layouts
Minimal work in process Reduced space requirements Reduced lead time Productivity and quality improvement Increased flexibility Disadvantages Expanded training and scheduling of workers Increased capital investment 36
37
Facilities Layout Types of layout Fixed-Position layouts
Product layouts Process layouts Cellular layouts Service layouts Combination layouts ความหยืดหยุ่นของ Layout Layout คือ รูปแบบของการจัดแผนก, เครื่องจักร, work center โดยคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของงาน Product layouts Process layouts Fixed-Position layout Combination layouts
38
Service Layouts Office layouts Retail layouts Warehouse and storage
- คลังสินค้า - ร้านค้าปลีก - การจัด Office
39
Service Layouts (cont.)
Office Layouts วแบบแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม ตัวแบบแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแผนก เป็นเทคนิคในการวางแผนโดยพิจารณาความสัมพันธ์ ระหว่างแผนก ซึ่งแสดงในแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ ดังภาพที่ 2.4 โดย A แทน จำเป็นต้องอยู่ชิดกันที่สุด E แทน ควรอยู่ใกล้ชิดกันมาก I แทน ควรอยู่ใกล้ชิดกัน O แทน อยู่ใกล้ชิดกันก็ได้ไม่อยู่ใกล้กันก็ได้ U แทน ไม่จำเป็นต้องอยู่ใกล้ชิดกัน X แทน ต้องอยู่แยกกัน
40
Office layouts ขั้นตอนในการวางผังโรงงานโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างแผนกมีดังนี้ 1. ศึกษาความสัมพันธ์ของแต่ละแผนก 2. นำข้อมูลความสัมพันธ์แปลงเป็นสัญลักษณ์ A, E, I, O, U หรือ X แล้วใส่ลงในแผนภูมิแสดง ความสัมพันธ์ 3. พิจารณาว่าแผนกใดมีความสัมพันธ์กับแผนกอื่นมากที่สุด ให้ใส่แผนกนั้นลงในผังโรงงานก่อน แล้วนำแผนกที่มีความสัมพันธ์กับแผนกที่มีความสัมพันธ์มากที่สุด (แผนกแรกที่ลงไปในผัง โรงงานแล้ว) ลงไปในผังโรงงานตามความสัมพันธ์มากที่สุดลงไปในผังก่อน 4. จัดแผนกต่างๆ ลงในผังโดยพิจารณาข้อจำกัดอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น ข้อจำกัดด้านพื้นที่ ข้อจำกัด ด้านน้ำหนัก ความสะดวกในการขนย้ายวัสดุ เป็นต้น
41
Service Layouts (cont.)
Retail layouts Design maximizes product exposure to customers Decision variable Store flow pattern Allocation of (shelf) space to products
42
Service Layouts (cont.)
Warehouse and storage layouts
43
Facilities Layout Types of layout Fixed-Position layouts
Product layouts Process layouts Cellular layouts Service layouts Combination layouts ความหยืดหยุ่นของ Layout Layout คือ รูปแบบของการจัดแผนก, เครื่องจักร, work center โดยคำนึงถึงการเคลื่อนที่ของงาน Product layouts Process layouts Fixed-Position layout Combination layouts
44
Line balancing (การเลือกกระบวนการผลิตและการวางผังโรงงาน)
45
Design Product Layouts: Line Balancing
Line Balancing is the process of assigning tasks to workstations in such a way that the workstations have approximately equal time requirements. Line Balancing คือ การทำให้สายงานประกอบมีความสมดุลในการผลิต
46
Line Balancing Rules Some Heuristic (intuitive) Rules:
Assign tasks in order of most following tasks. Count the number of tasks that follow Assign tasks in order of greatest positional weight. Positional weight is the sum of each task’s time and the times of all following tasks. Line Balancing Rules: การตัดสินใจโดยใช้หลักเหตุผล - Most following tasks: ให้นับจำนวนงานที่ตามหลัง station ไหนมีจำนวนงานตามหลังมากที่สุดให้นำมาพิจารณาก่อน - Positional weight: นับเวลารวมทั้งหมดของงานที่ตามหลังมา เช่น A มีงานตามหลังมา 3station ใช้เวลารวมกันทั้งหมด 1.8 นาที (รวมเวลา station A ด้วย) station ไหนมีจำนวนเวลางานมากที่สุดให้นำมาพิจารณาก่อน
47
Line Balancing Rules (cont.)
48
Cycle Time Cycle time is the maximum time
allowed at each workstation to complete its set of tasks on a unit. Cycle Time เป็นเวลาที่ยาวนานที่สุดที่ยอมให้แต่ละสถานีทำได้
49
Determine Maximum Output
Output rate = OT CT CT = cycle time = OT D Where OT = Operating time per day D = Desired output rate OT = เวลาที่ใช้ในการผลิตต่อวัน D = จำนวนที่ต้องการผลิตได้
50
Determine the Minimum Number of Workstations Required
Where N = จำนวน station งาน T = เวลาที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด N = Minimum number of work station
51
Precedence Diagram Precedence diagram: Tool used in line balancing to display elemental tasks and sequence requirements a b c d e 0.1 min. 0.7 min. 1.0 min. 0.5 min. 0.2 min. A Simple Precedence Diagram
52
Calculate Percent Idle Time
Efficiency = 100 – Percent idle time = ( เวลาสูญเปล่า)/ (จำนวน station)(cycle time) = / (3)(1) = % Efficiency = 100 – Percent idle time = 100 – 16.67 = 83.3 % ดังนั้นประสิทธิภาพของการ Balancing Line เท่ากับ 83.3%
53
Example 1 Plan to produce 400 units in 1 day (8 hours)
Immediate Task time Task follower (min) a b b e c d d f e f f g g h h end Example 2 วางแผนการผลิต 400 Units ใน 8 hr. (480 นาที) CT= 1.2 นาที จงทำให้ Line Balance โดยแนวคิดของ The most number of followers (งานไหนที่มีงานตามหลังเยอะที่สุดให้เอามาพิจารณาก่อน)
54
Solution to Example 1 (cont.)
d a b e f g h 0.2 0.3 0.8 0.6 1.0 0.4
55
Solution to Example 1 (cont.)
CT = cycle time = 480 =1.2 min N = 3.8 = 4 400 1.2 Station 1 Station 2 Station 3 Station 4 a b e f d g h c
56
Solution to Example 1 (cont.)
นับจำนวนงานที่ทำตามหลังงานนั้น ๆ เพื่อนำมาพิจารณา งาน a มีงานตามหลังทั้งหมด 5 งาน คือ b,e,f,g,h งาน b มีงานตามหลังทั้งหมด 4 งาน คือ e,f,g,h งาน c มีงานตามหลังทั้งหมด 4 งาน คือ d,f,g,h งาน d มีงานตามหลังทั้งหมด 3 งาน คือ f,g,h งาน e มีงานตามหลังทั้งหมด 3 งาน คือ f,g,h งาน f มีงานตามหลังทั้งหมด 2 งาน คือ g,h งาน g มีงานตามหลังทั้งหมด 1 งาน คือ h งาน h จบงาน
57
Solution to Example 1 (cont.)
Percent idle time = Idle time per cycle (N) (CT) = 4x1.2 = % Efficiency = – Percent idle time = = % *** ถ้าขยับงาน b ให้มาอยู่ที่ station 2
58
Solution to Example 1 (cont.)
Move b from station 1 to station 2
59
Solution to Example 1 (cont.)
Percent idle time = Idle time per cycle (N) (CT) = 4x1.1 = % Efficiency = – Percent idle time = = %
60
Bottleneck Workstation
1 min. 2 min. 30/hr. เมื่อเกิดปัญหา Bottleneck Workstation ดังรูป Bottleneck
61
Parallel Workstations
1 min. 2 min. 60/hr. 30/hr. Parallel Workstations แก้ไขโดย Parallel Workstations จากรูปข้างบน Cycle Time = 2 นาที เพราะทุก ๆ 2 นาทีชิ้นงานออกมา 1 ชิ้นแต่เมื่อทำ Parallel Workstations โดยการเพิ่มเครื่องมาอีก 1 เครื่อง Cycle Time = 1 นาที (รูปล่าง) เพราะทุก ๆ 2 นาทีมีชิ้นงานออกมา 2 ชิ้น เพราะฉะนั้นทุก ๆ 1 นาที มีงานออกมา 1 ชิ้น
62
Example TN5.2 Assembly-Line Balancing
The Model J Wagon is to be assembled on a conveyor belt. 500 wagons are required per day. Production time per day is 420 minutes, and the assembly steps and times for the wagon are give in Exhibit TN5.10 Assignment: Find the balance that minimizes the number of workstations, subject to Cycle time and precedence constraints. SOLUTION Draw a precedence diagram. Exhibit TN5.11 Illustrates the sequential relationships identified in Exhibit TN5.10(The length of the arrows has no meaning.)
63
Example TN5.2 (cont.)
64
Example TN5.2 (cont.)
65
Example TN5.2 (cont.)
66
Example TN5.2 (cont.)
67
Ex 03 Firm determines that there are 480 productive minutes are available per day. The production schedule requirement is 40 units be completed as output from the assembly line each day. Determine cycle time, number of work stations, efficiency.
68
Ex 03 (cont.)
69
Ex 03 (cont.) CT = cycle time = Production time available per day
Units required per day = = 12 min N = = 5.5 or 6 stations 40 12
70
Ex 03 (cont.)
71
Ex 03 (cont.) Efficiency = Task time .
(actual number of workstations) x (largest cycle time) = minutes ( 6 stations) x (12 minutes) = 91.7 %
72
Ex 04 The Toy company has decided to manufacture a new toy, the production of Which is broken into six steps. The demand for toy is 4800 units per 40 hour- week a) Draw a precedence diagram of this operation b) Given the demand, what is the cycle time of operation ? c) What is theoretical minimum number of workstations ? d) Assign tasks to workstations ? e) What is efficiency of the assembly line if number of station 4, 5 or 6 ?
73
Ex 04
74
Ex 04
75
Ex 04
76
Comparison of Product and Process Layouts
Description Type of process Product Demand Volume Equipment Sequential arrangement of activities Continuous, mass production, mainly assembly Standardized, made to stock Stable High Special purpose Process Functional grouping of Intermittent, job shop, batch fabrication Varied, made to order Fluctuating Low General purpose 76
77
Comparison of Product and Process Layouts (cont.)
Workers Inventory Storage space Material handling Aisles Scheduling Layout decision Goal Advantage Limited skills Low in - process, high finished goods Small Fixed path (conveyor) Narrow Part of balancing /Line Line balancing Equalize work at each station Efficiency Process Varied skills High in process, low Large Variable path (forklift) Wide Dynamic / Orders Machine location Minimize material handling cost Flexibility Product 77
78
Quiz 1 Cycle = 1 minutes จงทำให้ Line Balance โดยแนวคิดของ Ranked positional weight
79
Quiz 1
80
Quiz 1 หาค่า Ranging ของแต่ละงานออกมาก่อน (หาเวลาของงานทั้งหมดที่ตามหลังมา + เวลาของตัวมันเอง) Station 12 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด 0.12 Station 11 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 0.62 Station 10 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 1 Station 9 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 0.89 Station 8 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 1.87 Station 7 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 1.21 Station 6 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 1 Station 5 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 1.3 Station 4 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 1.97 Station 3 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 3 Station 2 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 2.67 Station 1 มีเวลาของงานรวมทั้งหมด = 3.3
81
Quiz 1
82
Homework กำหนดให้ cycle Time = 1 นาที
จงทำให้ Line Balance โดยแนวคิดของ Longest task time method (ให้เลือกงานที่ต้องใช้เวลามากมาทำก่อน)
83
Homework (cont.)
84
Homework (cont.)
Similar presentations
© 2024 SlidePlayer.com. Inc.
All rights reserved.